ความรู้สึกท่ีกาย คือ sensing รวมไปถึง รับรู้ทาง ได้ยิน ได้กล่ิน ได้เห็น ได้รสชาติ ( hearing smelling seeing tasting ) และ กายหนาวร้อน เจ็บปวด
ความรู้สึกท่ีใจ คือ feeling ซ่ึง เม่ือเกิดความรู้สึกท่ีใจ จะสังเกตได้ว่า อาการของกายจะเปล่ียนแปลงตามไปด้วย จากหายใจเข้าช้าไปเป็นเร็วขึ้น เกร็ง ขมวดคิ้ว เลือดลมสูบฉีดแรง ฯลฯ
ความรู้สึกท่ีใจ เช่น เจ็บใจ แค้น เศร้า โกรธ กลัว งก หวง โลภ อยากได้ เสียดาย ห่วง กังวล บ้ากาม เบ่ือ เซ็ง หมดกำลังใจ ท้อแท้ ดีใจ เสียใจ ฯลฯ มีทั้ง บวกและลบ กุศลและอกุศล
ความรู้สึก ท่ีใจนี้ เป็น ผลลัพธ์ (outcome) ท่ีตัดสิน ทุกข์ มาก หรือน้อย เป็นกรรมต่อไป
เราควรฝึกย้อนมาดูกาย ดูใจ ของเรา เป็นนิจนะ
ทุกวันนี้ เรามีแต่ จะคิด ฝึกคิด (thinking) มากไป จนขาด ตัวรู้ท่ีกาย ที่ใจ ทำให้ไม่เข้าใจ (ท่ีใจ) เรื่องทุกข์
เร่ืองทุกข์ เกิดท่ีใจ ก็ต่่้องฝึกใจให้ได้ก่อน ไม่ใช้ฝึกคิด คิดมากไป
คนเรายังไงต้องคิด แต่ให้คิดตอนใจสบาย ใจโล่ง นะ
เรารู้สึกอย่างไร ตอนที่ ดีใจ กับ โล่งใจ
ดีใจ ยังเจือกิเลสนะ
โล่งใจ จะโปร่งสบาย เหมือนหลุดออกจากกรง ได้อิสระ
โล่งใจ สบายๆ ต่างจากดีใจนะ มันไม่กุศล ไม่อกุศล มันใสๆ โปร่ง เหมือนตอนโดนศาลสั่งยกฟ้อง หรือ สอบวิชาสุดท้ายเสร็จ
ฝึกสร้างความรู้สึกท่ีกายและใจ คือ การฝึกสติน่ันเอง
อย่าให้ความคิด แย่งความรู้สึกนะ
ฝืนความเคยชิน เร่ือง เอาแต่คิดบ้างนะ ลองให้โอกาส กายใจ ได้รับรู้บ้าง
เหล่านักคิดทั้งหลาย จมความคิดมานาน ลองเปิด ความรู้ใหม่ รู้ด้วยกาย ด้วยใจ บ้างนะ
"จิตว่าง แล้วค่อยคิด
อย่าด่วนคิด ตอนจิตไม่ว่าง "
หลงคิด น่ีแหละ ทำให้เกิดทุกข์
คนที่สร้างทุกข์ให้กับเรา คือตัวเรานั่นเอง
ReplyDelete